Thaiihdc.org

  • เพิ่มขนาดตัวอักษร
  • ขนาดตัวอักษรปกติ
  • สดขนาดตัวอักษร
Home > Articles > การศึกษา > Global Competitiveness 2014-2015

Global Competitiveness 2014-2015

พิมพ์ PDF

Global Competitiveness 2014 - 2015

ผมได้รับ อีเมล์ จาก รศ. ดร. มงคล รายะนาคร ดังต่อไปนี้

การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆทั่วโลก (Global Competitiveness) โดย World Economic Forum (WEF) ประจำปี ค.ศ.2014-2015 ได้มีการประกาศที่เว็บไซต์ www.weforum.org ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน 2557 มีประเทศที่ได้รับการจัดอันดับ 144 ประเทศ ปรากฏผลที่น่าสนใจ ดังนี้

World Top 10 (with score 7 as maximum)

1 Switzerland (5.70) 2 Singapore (5.65) 3 United States (5.54) 4 Finland (5.50) 5 Germany (5.49) 6 Japan (5.47) 7 Hong Kong SAR (5.46) 8 Netherlands (5.45) 9 United Kingdom (5.41) 10 Sweden (5.41)

World Ranks of ASEAN Countries (with score 7 as maximum)

2 Singapore (5.65) 20 Malaysia (5.16) 31 Thailand (4.66) 34 Indonesia (4.57) 52 Philippines (4.40) 68 Vietnam (4.23) 93 Lao PDR (3.91) 95 Cambodia (3.89) 134 Myanmar (3.24)

ในการคิดน้ำหนักคะแนนสำหรับการคำนวณค่าดัชนีความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness Index) นั้น WEF ให้ตามขั้นตอนพัฒนา (State of Development) และรายได้ของประเทศ เป็น 5 ระดับ ดังนี้

GDP per capita (US$) thresholds (17,000)

Weight for basic requirements (60%, 40-60%, 40%, 20-40%, 20%) => “Basic Weight”

Weight for efficiency enhancers (35%, 35-50%, 50%, 50%, 50%) => “Efficiency Weight”

Weight for innovation and sophistication factors (5%, 5-10%, 10%, 10-30%, 30%) => “Innovation Weight”

ประเทศในกลุ่มอาเซียน มี 9 ประเทศที่ได้รับการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันโดย WEF ในปี ค.ศ. 2014-2015 (ยกประเทศ Brunei Darussalam ไม่ได้รับการจัดอันดับเนื่องจากไม่มีข้อมูลเพียงพอ)

การคิดน้ำหนักคะแนนสำหรับประเทศในกลุ่มอาเซียนตามเกณฑ์ GDP ของ WEF จึงเป็นดังนี้

ประเทศขั้นตอนพัฒนา 1 (GDP<2,000 US$) ได้แก่ Cambodia, Lao PDR, Myanmar และ Vietnam น้ำหนักการคิดคะแนนเป็นดังนี้

Basic Weight 60%, Efficiency Weight 35%, Innovation Weight 5%

ประเทศขั้นตอนพัฒนา 1-2 (GDP 2,000-2,999 US$) ได้แก่ Philippines น้ำหนักการคิดคะแนนเป็นดังนี้

Basic Weight 44.2%, Efficiency Weight 46.9%, Innovation Weight 9.0%

ประเทศขั้นตอนพัฒนา 2 (GDP 3,000-8999 US$) ได้แก่ Indonesia และ Thailand น้ำหนักการคิดคะแนนเป็นดังนี้

Basic Weight 40%, Efficiency Weight 50%, Innovation Weight 10%

ประเทศขั้นตอนพัฒนา 2-3 (GDP 9,000-17,000 US$) ได้แก่ Malaysia น้ำหนักการคิดคะแนนเป็นดังนี้

Basic Weight 36.1%, Efficiency Weight 50%, Innovation Weight 13.9%

ประเทศขั้นตอนพัฒนา 3 (GDP >17,000 US$) ได้แก่ Singapore น้ำหนักการคิดคะแนนเป็นดังนี้

Basic Weight 20%, Efficiency Weight 50%, Innovation Weight 30%

สำหรับตัวชี้วัดหลักที่เปรียบเสมือนเสาหลัก (pillars) ในการพิจารณาให้น้ำหนักคะแนนและจัดอันดับโดย WEF ในครั้งนี้ ประกอบด้วย

1st Pillar : Institutions (12 indicators, e.g. Public trust in politicians; Strength of investor protection. etc.)

2nd Pillar : Infrastructure (9 indicators, e.g. Quality of overall infrastructure; Quality of electricity supply, etc.)

3rd Pillar : Macroeconomic environment (5 indicators, e.g. Inflation, annual % change; General government debt, %GDP, etc.)

4th Pillar : Health and primary education (10 indicators, e.g. Infant mortality, deaths/1,000 live births; Quality of primary education, etc.)

5th Pillar : Higher education and training (8 indicators, e.g. Quality of the education system; Availability of research and training services, etc.)

6th Pillar : Goods market efficiency (16 indicators, e.g. Agricultural policy costs; Degree of customer orientation, etc.)

7th Pillar : Labor and market efficiency (10 indicators, e.g. Cooperation in labor-employer relations; Redundancy costs, weeks of salary, etc.)

8th Pillar : Financial and market development (8 indicators, e.g. Availability of financial services; Legal rights index, etc.)

9th Pillar : Technological readiness (7 indicators, e.g. Availability of latest technologies; FDI and technology transfer, etc.)

10th Pillar : Market size (4 indicators, e.g. Domestic market size index; Exports as a percentage of GDP, etc.)

11th Pillar : Business sophistication (9 indicators, e.g. Local supplier quantity; State of cluster development, etc.)

12th Pillar : Innovation (7 indicators, e.g. Quality of scientific research institutions; Availability of scientists and engineers, etc.)

ถ้าพิจารณาดูอันดับของประเทศในกลุ่มอาเซียน ระหว่างปี ค.ศ. 2013-2014 เปรียบเทียบกับปีปัจจุบัน ปรากฏผลดังนี้ Singapore 2=>2, Malaysia 24=>20, Thailand 37=>31, Indonesia 38=>34, Philippines 59=>52, Vietnam 70=>68, Lao PDR 81=>93, Cambodia 88=>95และ Myanmar 139=>134 โดยสรุป ประเทศที่อันดับดีขึ้นในปีนี้มี 5 ประเทศ คือ Malaysia, Thailand, Indonesia, Philippines และ Vietnamโดย Singapore ยังรักษาอันดับที่ 2 ไว้ได้เหมือนเดิม

อนึ่ง ในส่วนของดัชนีที่ผู้อยู่ในวงการศึกษาสนใจกันมากนั้น หากจะยกมาพิจารณาดูเฉพาะ Health and primary education เป็นตัวแทนของด้าน Basic Requirements อันดับ (รวมทั้งคะแนน) สำหรับประเทศในกลุ่มอาเซียนเป็นดังนี้

3 Singapore (6.7) 33 Malaysia (6.3) 61 Vietnam (5.9) 66 Thailand (5.8) 74 Indonesia (5.7) 90 Lao PDR (5.4) 91 Cambodia (5.4) 92 Philippines (5.4) 117 Myanmar (4.6)

ในขณะที่อันดับ (รวมทั้งคะแนน) เฉพาะ Higher education and training เป็นตัวแทนของด้าน Efficiency enhancers เป็นดังนี้

2 Singapore (6.1) 46 Malaysia (4.8) 59 Thailand (4.6) 61 Indonesia (4.5) 64 Philippines (4.4) 96 Vietnam (3.7) 110 Lao PDR (3.3) 123 Cambodia (2.9) 135 Myanmar (2.4)

ทั้งนี้รายละเอียดของการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆทั่วโลกโดย WEF ปรากฏอยู่ในรายงาน The Global Competitiveness Report 2014-2015 (565 หน้า) ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถ download ได้ที่ web link ของ WEF ที่

http://www3.weforum.org/docs/WEF_GlobalCompetitivenessReport_2014-15.pdf

ผมขอส่งอีเมลเรื่องนี้มายังอาจารย์ เพื่อพิจารณานำลงบล็อกสภามหาวิทยาลัยตามที่อาจารย์จะเห็นสมควรต่อไปด้วย จักขอบคุณยิ่ง

มงคล รายะนาคร

บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย 

แก้ไขล่าสุด ใน วันอังคารที่ 16 กันยายน 2014 เวลา 08:34 น.  
Home > Articles > การศึกษา > Global Competitiveness 2014-2015

About Us

ศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ (ศบม.) เป็นองค์กรที่พัฒนาและจัดทำโครงการเพื่อทำประโยชน์ให้สังคม เป็นองค์กรสนับสนุนการดำเนินงานของภาครัฐ ช่วยแก้ปัญหาผู้ประกอบการภาคธุรกิจบริการที่ขาดแคลนบุคลากรที่มีมาตรฐานในการให้บริการ
อ่านเพิ่มเติม

มูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ ์

 iHDC Profile
บัญชีรายชื่อกรรมการ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน การเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธิ
เอกสารประชาสัมพันธ์ โครงการ HMTC.pdf
เอกสารแนะนำโครงการ HMTC 1.pdf
เอกสารโครงการ HMTC 2 คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ.pdf
iHDC นิติบุคคล.pdf
iHDC บุคคล.pdf
iHDC บุคคลเครือข่าย.pdf
รายงานการประชุม 6 มีนาคม 2560.pdf
ข้อบังคับมูลนิธิ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ
Ihdc-Profile and Roadmap 2016-2019 Mar 23 2560.pdf
รายงานการประชุมใหญ่คณะกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ 2559.pdf
คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ สาขาวิชาชีพ.pdf
รายงานการประชุมใหญ่วันที่ 18 ธ ค 2558 v 3.pdf
รายงานการประชุม วันที่ 24 ธันวาคม 2557 updated 4 มีนาคม 2558.pdf
iHDC-invitation Letter.doc
iHDC-Member Form Thai.doc
iHDC-Member Form English.doc
รายงานการประชุมกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ วันที่ 15 มกราคม 2556 ฉบับสมบูรณ์


thaibetter
พัฒนาประเทศไทยแบบทวีคูณ และยั่งยืน ( ททค )

Login


แบบสำรวจ

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

สถิติเว็บไซด์

สมาชิก : 5585
Content : 3038
เว็บลิงก์ : 26
จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 8560130

facebook

Twitter


ล่าสุด

บทความเก่า