Thaiihdc.org

  • เพิ่มขนาดตัวอักษร
  • ขนาดตัวอักษรปกติ
  • สดขนาดตัวอักษร
Home > ประชาสัมพันธ์ > ประชาสัมพันธ์ > ปัญหาประชาธิปไตยนั้นเกี่ยวเนื่องด้วยหลักวิชาโดยสังกัดอยู่ใน วิชาการเมือง

ปัญหาประชาธิปไตยนั้นเกี่ยวเนื่องด้วยหลักวิชาโดยสังกัดอยู่ใน วิชาการเมือง

พิมพ์ PDF

ไพบูลย์ สถาปนาวิสุทธิ์

 

ปัญหาประชาธิปไตยนั้น เกี่ยวเนื่องด้วยหลักวิชาโดยสังกัดอยู่ใน วิชาการเมือง หรือ รัฐศาสตร์ (Political Science) ซึ่งมีหลักการและกฎเกณฑ์ที่จะต้องมีความเข้าใจและยึดถืออย่างเคร่งครัดมากมาย ซึ่งเราจะคิด จะพูด จะทำเอาตามชอบใจมิได้เลย การจะสร้างประชาธิปไตยให้สำเร็จได้นั้น นอกจากจะต้องมีความเข้าใจใน ลัทธิประชาธิปไตย (Democracy) เป็นพื้นฐานแล้ว ยังจะต้องประกอบด้วยความเข้าใจปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เป็น เงื่อนไขสำคัญอีกหลายประการ กล่าวโดยสรุปก็คือ ประชาชนต้องการทราบว่า การสร้างประชาธิปไตยที่ถูกต้องทำอย่างไร หรือต้องมีความเข้าใจเป็น อย่างไรบ้าง ซึ่งจะเป็นแนวทางที่ถูกต้องและนำไปสู่การแก้ปัญหาของชาติได้ ปัญหานี้จึงเป็นที่มาของ การจัดทำเอกสารและการทำคลิปนี้ขึ้นมา เพื่อประชาชนจะได้หลุดพ้นจากความเข้าใจในสิ่งที่ผิดๆที่ถูกหล่อหลอมกันมาอย่างยาวนานเป็นเวลากว่า 80 ปี ที่ผ่านมา การทำงานการเมืองไม่เหมือนการค้าขาย ซึ่งลงทุนผิดก็ล้มละลายแต่ตัวเองเท่านั้น แต่ทำการเมืองผิดหรือทำโดยปราศจากความรู้ทางวิชาการนั้น ไม่เพียงแต่ตัวเองจะล่มจมคนเดียว ยังทำให้ประเทศชาติและประชาชนล่มจมตามไปอีกด้วย รัฏฐาธิปัตย์ (sovereignty) หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน หรือ ในหลวง 1.อำนาจรัฏฐาธิปัตย์ (sovereignty) หมายถึง อำนาจอธิปไตย ของพระมหากษัตริย์ อำนาจอธิปไตยนี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ เพราะการจะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากต้องประกอบด้วย อาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแล้ว ย่อมต้องมีอำนาจอธิปไตยด้วย กล่าวคือ ประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอำนาจสูงสุด (อำนาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกว่า "รัฐ" หมายถึง รัฐที่เป็นเอกราช และไม่ได้เป็นเมืองขึ้นของประเทศใด ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยของ รัฏฐาธิปัตย์ หาได้ไม่ 2.อำนาจอธิปไตย ของประชาชน หมายถึง อำนาจสูงสุดของประชาชน เป็นอำนาจสูงสุดที่ประชาชน ใช้ในการปกครอง หรือเรียกว่า ประชาธิปไตย เป็นอำนาจของประชาชน ที่ใช้ผ่านทาง สภาผู้แทนราษฎร หรือ อำนาจนิติบัญญัติ เท่านั้น รัฐต้องมีประมุขเป็น ผู้ถือดุล ถ้าประมุขแห่งรัฐเสียดุลอำนาจลงเมื่อใด รัฐนั้นก็จะกลายเป็น "รัฐล้มเหลว" การเลือกตั้งนายกรัฐมนตรี โดยตรง ผิดหลักวิชา นายกรัฐมนตรีต้องเป็นตัวแทนที่มาจากประมุขประเทศเท่านั้น สส.เป็นตัวแทนของประชาชน ถือดุลอำนาจ นิติบัญญัติ นายกรัฐมนตรีเป็นตัวแทนของประมุขประเทศ ถือดุลอำนาจ บริหาร จึงจะถ่วงดุลได้ในระบบรัฐสภา ไม่เช่นนั้นแล้ว ปัญหาการสุมหัว โกงกินเงิน จากภาษีของประชาชน ยากแก่การแก้ไขปัญหา และยังเป็นปัญหาประเทศ ที่ยังไม่ได้ รับการแก้ไข ทำให้ประชาชนตกอยู่ในความทุกข์ยากลำบาก เป็นระยะเวลามานานนับ 80 กว่าปี ที่ผ่านมา เรียนเชิญเข้ามาอ่านบทความหลักวิชาการเมืองได้ที่เวปนี้ http://pantip.com/profile/973857 ท่านสามารถสอบถามหลักวิชาด้านการเมืองได้ที่ Line ID : 0854441100

SHOW LESS


 
Home > ประชาสัมพันธ์ > ประชาสัมพันธ์ > ปัญหาประชาธิปไตยนั้นเกี่ยวเนื่องด้วยหลักวิชาโดยสังกัดอยู่ใน วิชาการเมือง

About Us

ศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ (ศบม.) เป็นองค์กรที่พัฒนาและจัดทำโครงการเพื่อทำประโยชน์ให้สังคม เป็นองค์กรสนับสนุนการดำเนินงานของภาครัฐ ช่วยแก้ปัญหาผู้ประกอบการภาคธุรกิจบริการที่ขาดแคลนบุคลากรที่มีมาตรฐานในการให้บริการ
อ่านเพิ่มเติม

มูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ ์

 iHDC Profile
บัญชีรายชื่อกรรมการ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน การเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธิ
เอกสารประชาสัมพันธ์ โครงการ HMTC.pdf
เอกสารแนะนำโครงการ HMTC 1.pdf
เอกสารโครงการ HMTC 2 คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ.pdf
iHDC นิติบุคคล.pdf
iHDC บุคคล.pdf
iHDC บุคคลเครือข่าย.pdf
รายงานการประชุม 6 มีนาคม 2560.pdf
ข้อบังคับมูลนิธิ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ
Ihdc-Profile and Roadmap 2016-2019 Mar 23 2560.pdf
รายงานการประชุมใหญ่คณะกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ 2559.pdf
คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ สาขาวิชาชีพ.pdf
รายงานการประชุมใหญ่วันที่ 18 ธ ค 2558 v 3.pdf
รายงานการประชุม วันที่ 24 ธันวาคม 2557 updated 4 มีนาคม 2558.pdf
iHDC-invitation Letter.doc
iHDC-Member Form Thai.doc
iHDC-Member Form English.doc
รายงานการประชุมกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ วันที่ 15 มกราคม 2556 ฉบับสมบูรณ์


thaibetter
พัฒนาประเทศไทยแบบทวีคูณ และยั่งยืน ( ททค )

Login


แบบสำรวจ

สถิติเว็บไซด์

สมาชิก : 5585
Content : 3038
เว็บลิงก์ : 26
จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 8556980

facebook

Twitter


ล่าสุด

บทความเก่า