โครงการศึกษาวิจัยแนวทางการกำกับดูแล กิจการวิทยุกระจายเสียงบริการชุมชนในประเทศไทยให้เป็นไปตามกฎหมาย

วันพุธที่ 19 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 00:00 น. ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ บทความ - การศึกษา
พิมพ์

สรุปการประชุม Focus Group (กลุ่มภาคกลาง)

โครงการศึกษาวิจัยแนวทางการกำกับดูแล

กิจการวิทยุกระจายเสียงบริการชุมชนในประเทศไทยให้เป็นไปตามกฎหมาย

วันศุกร์ที่ 31 มกราคม 2557

ณ โรงแรมริชมอนด์ ถ.รัตนาธิเบศร์ จ.นนทบุรี

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

- การทำวิจัยให้เอา Focus Group ทุกภาคส่วนมาเป็นแนวทางพัฒนาต่อไป มีความตั้งใจและเป้าหมายเพื่อให้วิทยุเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้นโยบายระหว่างประเทศ

- การพัฒนางานในอนาคตเพื่อพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณธรรม จริยธรรม ประเทศจะได้อยู่รอด

- กรอบแนวคิดเริ่มจากการมีความสามารถเพื่อส่วนรวม

What need to be done? And What good for the country?

- เน้นการทำงานเพื่อส่วนรวม ไม่มีประโยชน์แอบแฝง

- มุ่งหมายให้สื่อได้ปะทะกับสังคมและวัฒนธรรมอย่างกว้างขวาง บางครั้งสื่ออาจเอียงไปบ้าง เพราะสื่อเป็นเจ้าของธุรกิจ ต้องยอมรับว่าทุนนิยมเข้ามาเยอะ

Methodology

1.Review เกี่ยวกับการวิจัยสื่อวิทยุทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นเอกสารต่าง ๆ ให้ศึกษาคณะทำงานของ กสทช. ด้วย

2. การไปดูงานต่างประเทศ มีสวีเดน และนอร์เวย์ เพื่อดูมาตรฐานของวิทยุที่เจริญแล้วเน้นอะไรบ้าง

วิทยุชุมชน คือการสร้างความสามัคคี สร้างความอบอุ่นในชุมชน

วิทยุการเมืองยังไม่จับ มาเอาอะไรกับวิทยุเล็ก ๆ

อย่ามองที่ผู้ประกอบการเล็ก ๆ ให้มองที่ตัวเองก่อนว่า กสทช.ทำอย่างไร

การประสานงานกับองค์กรภาครัฐ ปี 2554 ไม่เห็นใครออกมาเลย มีเพียงวิทยุเล็ก ๆ ช่วยประสานกันทั้งหมด แล้ว กสทช. ก็ไปจับพวกเขา

วิทยุขนาดเล็ก รักที่จะสร้างสรรค์ สังคมให้ดีเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน แม้จะต้องหารายได้ สร้างสรรค์สังคมให้สวยงาม

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

อยากให้เน้นประโยชน์สูงสุด และมีคุณธรรม จริยธรรมกำกับ

คุณกิตติชัย ภูชนะ ประธานเครือข่ายระวังภัยทางสังคม จ.ชลบุรี

มี 70 สถานีรวมอยู่ในกลุ่ม ปัญหาทั้งหมด กสทช. มีส่วนในการทำให้ปัญหานี้เกิดขึ้น ที่ผ่านมาได้สัมผัสวิทยุชุมชน แต่ก่อนวิทยุชุมชนสร้างความรัก ความกลมเกลียวกันมาก เป็นการรวมกลุ่มในชุมชนออกคลื่น 300-400 วัตต์ ส่งได้ 50 กม. กล้าตั้งสถานี และมีบทบาทในการสร้างความสามัคคีในชุมชน ต่อมาวิทยุชุมชนเริ่มมีมากขึ้น จึงมีประกาศการจัดระเบียบจาก กสทช. บังคับให้คนที่ลงทะเบียนบังคับอยู่ที่ 500 วัตต์ แต่เจ้าของผลิตภัณฑ์ที่มีเงินมหาศาลตั้งใหม่ มี 3,000-10,000 วัตต์ กลายเป็นว่าคนที่อยู่ในร่องในรอยถูกบีบ

คนที่เข้าไปอยู่ในกรอบ 500 วัตต์ แต่เจอคน 3,000 วัตต์ แย่งโฆษณาไป ทำให้คนลงทะเบียนถูกต้องอยู่ไม่ได้

อย่าให้วิทยุชุมชนอดอยากปากแห้ง ถ้าทำมาหากินไม่ได้ ไม่สามารถเลี้ยงเครือข่ายได้ พอมีสิ่งที่ถูกต้องหรือไม่ยื่นเขามา เขาก็อาจจะรับสิ่งนั้น

คุณเบญจพร พงษ์ประดิษฐ์ ผู้จัดรายการวิทยุ F.M.98.00 MHz และผู้จัดรายการรู้รักแผ่นดิน

กสทช. มีเป้าหมายหลักเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวสยาม

แต่ที่สังคมวุ่นวายเพราะคำพูดของคน ประเด็นคือสิ่งที่ทำนั้นทำเป้าเพื่อชาติบ้านเมืองหรือไม่ วิทยุชุมชนควรจัดมาเพื่อประโยชน์แผ่นดิน ไม่ใช่เพื่อเงินในกระเป๋า

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

บทบาทของกสทช.ในอนาคต เรื่องกองทุนน่าจะเป็นงานวิจัยที่สำคัญ

ครูบาต้นน้ำ

นโยบายวิทยุชุมชน มหาบัว วิทยุชุมชนคือวิทยุตามเสียงเป็นเสียงตามสาย เพื่อประโยชน์ท้องถิ่น ที่ต้องอาศัยความร่วมมือกัน แต่ กสทช.มาให้เซ็นตามกฎหมาย ต้องเป็นพ.ร.บ. เสนอและประชุมหลัก มี สว.วิทยุชุมชนเข้ามาค้านกสทช.

ตัวแทนจากวิทยุ จ.นนทบุรี

การกระจายเสียงในชุมชนค่อนข้างมีความสุข ไม่ต้องมีโฆษณาก็อยู่ได้ แต่ที่สูงมากเพราะเป็นทุนนิยม

โครงการการกำกับดูแลวิทยุชุมชนจะทำอะไร ถึงไม่ใช่ปัญหา เราจะกำกับดูแลอย่างไรทั้งสาธารณะ ธุรกิจ ให้กติกาอยู่ในมาตรฐานเดียวกัน

เสายิ่งสูงเท่าไหร่ การก่อกวนยิ่งมาก

การให้บริการชุมชนเสมือนเป็นหอกระจายข่าววิทยุชุมชน จึงอยากให้มีการดูแลกันเอง ทำอย่างไรในการดูแลผู้ประกอบการวิทยุมี 3 ส่วนสำคัญ

ทางด้านเทคนิคจึงสำคัญที่สุด ฝากเรื่องเทคนิค การกระจาย 20 ตารางกม. น่าจะมีปัญหา ตราบใดที่ไม่มีคลื่นใกล้เคียงกันน่าจะไปได้ไกล

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

คลื่นดิจิตอลเรดิโออาจจะแพงหรือยุ่งยากมากกว่า เป็นเทคโนโลยีที่เสริมกันได้ เมื่อไรพร้อมก็จะวิ่งมาสู่ดิจิตอล

คุณภาพของคนมีคุณธรรมจริยธรรม จึงมีความจำเป็นที่ต้องมีหลักสูตรการพัฒนาคน

เริ่มจากพื้นฐานก่อน และกลับมาสู่ที่ภาคชนบท

งานของ กสทช.เรื่องทุนมนุษย์ ต้องให้เขามีความเข้าใจกัน สร้างคุณธรรม จริยธรรมในวงการวิทยุ

ต้องการให้สื่อปฏิรูปความคิด สร้างค่านิยม ถ้าวิทยุชุมชนทำดี กองทุนต้องให้เขา ถ้าทำไม่ดีต้อง Sanction กัน

กสทช. ต้องเป็นปฏิปักษ์ และวิ่งไปสู่เป้าหมายนั้น

ถ้าเราคิดถึงเป้าหมายส่วนรวม วิทยุจะเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคนที่ถูกที่สุด และสามารถแก้ปัญหาสังคมได้

หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ของเทศบาล

หอกระจายข่าวปีที่ 32 ร่วมกับวิทยุชุมชนครั้งแรก จะเห็นว่าวิทยุชุมชนไม่สามารถได้เงินจากองค์กรท้องถิ่นได้ เนื่องจากไม่มีกฎหมายที่สนับสนุนให้ท้องถิ่น การควบคุมดูแล มีเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ที่ช่วยดูแลวิทยุชุมชนได้ บอกแนวทางช่วยวิทยุชุมชนได้

แนวทางรวม ๆ ประชาสัมพันธ์โดยท้องถิ่น ทำงานด้านสื่ออยู่แล้ว

วิทยุที่แบ่งแยกและมีปัญหาเกิดขึ้น โดยปกติจะแข่งขันเรื่องความดัง และความไกล

วิทยุชุมชนที่เป็นสาธารณะ แต่โฆษณาไม่ได้ จะเอาเงินตรงไหนมา ที่แข่งกันเพราะอยากดัง และปากท้องไม่มี ต้องจ้างดีเจดัง ๆ มา

ถ้ามีกฎหมายหรือวิธีอะไร ให้ส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์รายงาน จะเกิดประโยชน์มากกว่าหาข้อสรุปแบบนี้

สถานีวิทยุกระจายเสียงกรุงเทพมหานคร

เสนอคุณธรรม จริยธรรมการบริการชุมชน และเป้าหมายเพื่อระบุชัดเจน จะเป็นเบ้าหลอมให้สังคมสู่เป้าหมายเดียวกัน เสนอการศึกษาหน้าที่พลเมืองที่ดี

หลักสูตรที่สำนักพิมพ์เสริมขึ้นมาทำให้เกิดผลดีและความแปลกแยกในสังคมเช่นเดียวกัน

วิทยุชุมชนบางคลื่นฟังไม่ได้ ไม่ว่าเป็นวิทยุชุมชนหรือก่อการ เราต้องมีการกีดกรอบและให้เคารพในกฎหมาย

คุณชาญยุทธ ศรีพรหม ผู้อำนวยการสถานีวิทยุชุมชนเขาเพิ่ม F.M. 92.00 MHzจ.นครนายก

ทุกคนมองที่ช่องว่างอยากได้ของตนเอง อยากให้มองว่าทำอย่างไรถึงร่วมกันได้ ต้องดูว่าระดับที่จะทำได้ขนาดไหน

กสทช.ให้มองว่าเสียงส่วนใหญ่อยู่ที่ระดับเท่าไหร่เป็นมาตรฐานกลาง เช่น 1,000 วัตต์ รับได้แต่ห้ามเกิน

อยากให้มีข้อมูลต่าง ๆ ถึงกันระหว่างผู้ประกอบการและกสทช.

อยากให้มองที่เป้าหมายแล้ววิทยุชุมชนเกิดได้แน่นอน เพิ่มหรือลบได้หรือไม่

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

วิทยุเป็นเครื่องมือที่ทันสมัยและทันเหตุการณ์ ถ้าให้วิทยุเกิดประโยชน์ ความรู้ รักชาติบ้านเมืองแทนที่จะขัดแย้งกัน

คิดถึงประเทศ คิดถึงส่วนรวมแล้วอยู่ได้ด้วย

บทบาทกสทช.ในอนาคตและเสริมจุดเดิมได้จะประสบความสำเร็จ

คุณสรวิชญ์ ไชยเลิศ เลขาธิการสมาคมวิทยุกระจายเสียง จ.สมุทรปราการ

มีการอบรมสัมมนาประกาศเจตนารมย์วิทยุกระจายเสียงและวิทยุบังคับ ทำเป็นรูปเล่ม ให้มีการรวมตัวและดูแลกันเป็นอย่างไร พบ 2 เรื่องที่เห็นเป็นปัญหา คือ

1. มาตรการของ กสทช.มีการกำหนดอยู่ที่ 500 วัตต์ไม่ควรเกิน แต่ปัจจุบันเกิน อยากให้ กสทช.มีการจำกัดอย่างชัดเจน มีการส่งคลื่น ระงับสัญญาณ ถอนสิทธิ์ แต่ กสทช. มีบุคลากรไม่เพียงพอที่จะไปตรวจจับ มาตรการการจับมือร่วมกัน องค์กรวิชาชีพความร่วมมือมีการรวมกลุ่มกันอย่างชัดเจน ส่งเสริมการอบรม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ส่งเสริมเสรีภาพสิทธิต่าง ๆ ปกป้องสิทธิทั้งผู้ฟังและชุมชน มีจริยธรรมที่ประสานกับกสทช.ได้ เราจะให้สถานีวิทยุมี สส.สังกัด ทุกคนปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่กำหนด

ถ้าไม่ปฏิบัติจะเป็นแกะดำ จะให้กสทช.ดำเนินการอย่างไร โดยที่แต่ละสมาคมจะเป็นหูเป็นตาและควบคุมกันเองด้วย

2. การสนับสนุนให้กับองค์กร วิทยุปัจจุบันจะสู้กับพวกทีวี ฟรีทีวีไม่ได้ เพราะได้ทั้งภาพและเสียง ถ้าจะมีกองทุนต่าง ๆ ช่วยสนับสนุนจะเป็นการดี เพราะหางบโฆษณาได้เยอะ ปัจจุบัน กสทช.บังคับให้เป็นนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด จะก่อให้เกิดต้นทุนในการปิดงบ ถ้าไม่มีการสนับสนุนจะไปหาโฆษณาที่เกินจริง ดังนั้น กสทช.ต้องมีตัวนี้สนับสนุนไม่งั้นอยู่ไม่ได้ไม่เช่นนั้น เขาจะไปหาเงินจากการเมือง และโฆษณาเกินจริง จึงอยากให้เน้นการควบคุมดูแลซึ่งกันและกันในเชิงสมาคมได้

เมื่อกสทช.ตั้งให้เป็นบริษัท เป็นไปไม่ได้ที่หารายได้ 100-1000 ล้าน ดังนั้นการสนับสนุนของกสทช.ต้องมากกว่าโทรทัศน์ ไม่เช่นนั้นจะเป็นการทำเงินเพื่ออยู่รอด

คุณพิชญ์ภูรี จันทรกมล

เห็นข้อแตกต่างของข้อเสนอกันอยู่

วิทยุกระจายเสียงเล็ก ยังมีความแตกต่างของข้อเสนอเช่น 500 วัตต์หรือบางครั้งเกินไป บางท่าน 300 วัตต์ บางครั้ง 1000 วัตต์ ไม่มีมาตรฐานแล้ว

เข้าใจว่าสิ่งที่ทำอยู่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน แต่ในอนาคตเป็นอย่างไร การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการรบกวนซึ่งกันและกัน จะแก้ปัญหาอย่างไรในเชิงเทคนิค กฎหมายและการกำกับดูแลต้องสร้างกระบวนการที่ยอมรับและเพื่อการพัฒนา เชื่อว่าไม่มีอะไร 100 % ที่สมบูรณ์แบบ อยากให้มองว่าอนาคตกฎหมายจะพัฒนาไปอย่างไร ชุมชนเป็นส่วนหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญ

ด้วยวิทยุกระจายเสียงบริการชุมชน โดยให้ประชาชนหรือชุมชนได้มีส่วนร่วม ประโยชน์การจัดตั้งทุกคนเข้าไปมีส่วนร่วมว่าต้องการอะไรในเรื่องนั้น ส่วนร่วมเป็นเสียงจากผู้ประกอบการ ถ้าหากนิยามชุมชนชัดเจน การมีส่วนร่วมน่าจะเบ็ดเสร็จได้ตรงนั้น และชุมชนจะไม่ใช้ 20 ตารางกิโลเมตรตลอดไป

คุณสกลชัย บุญสรรค์ รองประธานและสมาคมวิทยุและโทรทัศน์ จ.ชัยนาท

กสทช.กำหนดอยู่แล้วว่าชุมชนควรเป็นเท่าไหร่ ๆ กลายเป็นลูกครึ่งวิทยุชุมชน เพราะว่าแต่ก่อนทำเป็นธุรกิจ มีร้านก๋วยเตี๋ยว ลูกชิ้นมาโฆษณามากมาย ความเป็นชุมชนเยอะ แต่ปัจจุบันน้อยลงพอสมควร เนื่องจากความโลภของมนุษย์ ใช้จ่ายมากขึ้นความต้องการมากขึ้น ความเป็นวิทยุธุรกิจเข้ามา

ถ้าเป็นไปได้อยากให้ไปในระดับจังหวัด เช่น จ.ชัยนาทจะได้ครบทั้งคนฟัง จะดีมาก

ชมรมผู้ประกอบการวิทยุจังหวัดชัยนาท พอถึงจุดหนึ่งน่าจะเป็นสมาคมเพื่อรวมกลุ่มในจังหวัดกันเอง การดูแลกันเอง มีจรรยาบรรณ ระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูง ที่สร้างให้ตัวเองอยู่แล้ว

เสนอการรวมกลุ่มให้แต่ละจังหวัดให้ดูแลกันเอง ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี จากจังหวัด เป็นภาค แต่ละพื้นที่มีความเป็นอัตลักษณ์ของตนเองไม่เหมือนกัน รวมเป็นระดับภาค ระดับประเทศ โดยมี กสทช.เป็นแม่งาน

ปัญหาคือ เรื่องของรายได้ คนเป็นวิทยุธุรกิจโฆษณาได้ 75% วิทยุชุมชนห้ามโฆษณา ยกเว้นการโฆษณาเชิงสร้างสรรค์สามารถทำได้ การสนับสนุนไม่ค่อยได้ใช้มาก

ถ้าอยากจะช่วยด้วยความจริงใจให้บอกมาว่าจะทำอย่างไรกับเรา เพราะตอนนี้เป็นเสมือนสุญญากาศ สิ่งที่จะต้องพัฒนาค่อนข้างยากแต่ไม่ยากเกินกว่าคนจะทำได้

อาจารย์พรนภา แก้วลาย หัวหน้าสาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ ม.รังสิต

ทุกอย่างที่ต้องการบางครั้งเป็นเสมือนนามธรรม บางครั้งโดนกระแสสังคม ทำให้ลืมคุณธรรม จริยธรรมบ้าง แต่เป็นแง่ดีที่แสดงแง่คิดตรงนี้

กสทช. เขต 1 นนทบุรี

จะน้อมนำปัญหาต่าง ๆ ไปให้ผอ.ทราบ

ในเรื่องการตรวจสอบการใช้คลื่น การรบกวนคลื่นจะมีการเบาบางได้ ทั้งกำลังส่ง การแปลกปลอม

20 จังหวัด การรบกวนแต่ละจุดอาจไม่ทันการณ์

คุณสรวิชญ์ ไชยเลิศ เลขาธิการสมาคมวิทยุกระจายเสียง จ.สมุทรปราการ

ถ้าสถานีแต่ละที่ไม่ให้ความร่วมมือเราจะทำอย่างไร ให้กสทช.ดูแล บางสถานีเป็นแกะดำ ไม่ทำตาม ทำอย่างไรให้แจ้งละเมิด มีบทกำหนด รวมตัวแจ้งว่ามีอะไรเกิดขึ้น

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

ต่างประเทศคลื่นยังอยู่ที่ไปรษณีย์ กสทช. ดูแค่นโยบาย แต่ไทยรวบไว้หมดเลย

กสทช.เหมือนองค์กรที่มีอำนาจมาก กสทช.ต้องฟังเสียงจากรากหญ้าด้วย ต้องไม่ดาวกระจาย เลือกบางส่วนที่เป็นประโยชน์ต่อเรา ถ้าอยู่ไม่ได้ กสทช.ต้องช่วย หรือช่วยตัวเอง ไม่ใช่อยู่ไม่ได้ไปหานักการเมือง หรือโฆษณาเกินจริง นั่นแหละทำลายประเทศ

ในอนาคตประเทศไทยจะมีความสวยงามมากขึ้น

ครูบาต้นน้ำ

- จะจัดระเบียบในวิทยุชุมชน ถ้า กสทช.จะเป็นวิทยุที่เปลี่ยนระบบใหม่ ขอให้กสทช.เปิดกว้างสำหรับวิทยุชุมชนแล้วแบ่งแขนง เช่น ศึกษา ศาสนา แพทย์

- จุดที่วิทยุชุมชนไปชนกับวิทยุการบินมีอะไรที่ป้องกัน จะได้ไม่ต้องมานั่งแก้ หาข้อมูลที่มีทั้งข้อเสียและข้อดี

- เคยคุยกับที่ประชุมสงฆ์อยากให้ตรวจสอบว่าจุดไหนที่วิทยุชุมชนไปรบกวนให้ทำอะไรเป็นสเกลงาน

คุณธนพภณ ปิ่นชัยโย ผู้อำนวยการวิทยุชุมชน How Radio จ.สระบุรี

- ที่พูดมาทั้งหมดอยากให้สรุปให้ได้ใจความ อยากให้เขียนชัด ๆ ไม่ต้องตีความ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายให้ชัดเจน

- อยากให้กสทช.ถามวิทยุว่าต้องการอะไร ให้เขาได้ไหม ถ้าให้ก็ทำได้

คุณกิตติชัย ภูชนะ ประธานเครือข่ายระวังภัยทางสังคม จ.ชลบุรี

- เอากฎหมายเป็นตัวตั้ง เหมือน กสทช.มีกฎหมายเป็นตัวให้เราทำตาม จุดนี้คือจุดแก้ไข วิทยุชุมชนมีหลายประเภท บางประเภททำถูกต้อง บางประเภทก็น่าสงสารเช่น บางประเภทให้โฆษณาให้แค่ 6 นาที บางชุมชนได้จัดให้มีการรวมกลุ่มกันคิดต่าง ๆ นาๆ

3. มีการทำ Questionnaire เพื่อการปรับปรุงและแก้ไข

คุณพิชญ์ภูรี จันทรกมล

วิทยุกระจายเสียงของประเทศไทย เริ่มตั้งแต่ปี 2540 กว่าจะเป็นคลื่นใช้เวลา 10 ปี ทำประโยชน์ให้ประเทศชาติเยอะมาก

ปี 2475 – 2500 มีโฆษณาชวนเชื่อแฝงอยู่

ปี 2510 เริ่มมีการจัดระบบ

ปี 2522 เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง

ปี 2532 – 2540 เป็นทุนนิยมการสื่อสาร กำลังเปลี่ยนเป็นเสรี ยุคนี้เริ่มมีการปฏิรูปสื่อ ดึงสื่อทั้งหมดเข้ามาเป็นของชาติ จากระบบสัมปทานเป็นใบอนุญาต มีรอยต่อกฎหมาย บางช่วงให้วิทยุชุมชนขาย มีวิทยุชุมชนหลายแบบสอนเข้ามา

หลังปี 2540 เริ่มมีการแบ่งระบบ

1. สื่อของรัฐ

2. สื่อธุรกิจเอกชน

3. สื่อภาคประชาชน ที่ชุมชนทำอยู่

การทำ Focus Group

1. อยากทราบเงินสนับสนุนกองทุนเป็นเท่าไหร่ แต่เงินกองทุนตอนนี้ไม่ชัด บางภาคเริ่มทำงานวิจัยไปแล้ว ถ้าดำเนินการวิทยุชุมชนว่ากองทุนสนับสนุนเท่าไหร่

2. อยากยืนด้วยลำแข้งของตนเอง แต่เข้าไปประมูลได้

นอกเหนือจากงานวิจัยยังมีแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของวิทยุกระจายเสียงซ้อนอยู่ ได้รับการพัฒนาวิทยุเพียงพอหรือไม่ บางแห่งปัจจัยไม่มี การสนับสนุนทางเทคนิคไม่พอ

คุณสาธิต อนันตสมบูรณ์

เนื่องจากธรรมชาติของมนุษย์เวลาโดนป้อนอย่างไรส่วนใหญ่เป็นอย่างนั้น ที่ทางรัฐครอบสื่อไว้ก็เพื่อเป็นความมั่นคง

ปี 2543 มีการจัดตั้งสายงานดูแลประชาชนเรียกร้องมากขึ้น จึงต้องมีการดูแลตนเอง ให้กรมประชาสัมพันธ์ออกใบอนุญาตหลายแห่ง แต่ตอนหลังมีคนขอทำวิทยุมากขึ้นจึงเกิดการปล่อยฟรีมากขึ้นแต่ไม่ให้โฆษณา ซึ่งทางวิทยุบอกอยู่ไม่ได้ เลยให้มีโฆษณาแค่ 10 นาทีและทำให้วิทยุมีเกิดขึ้นเรื่อย ๆ กว่าพันราย

พ.ร.บ. ปี 2551 มีการจัดระเบียบแยกวิทยุเป็น 3 ประเภท

1. วิทยุเพื่อสาธารณะ (โฆษณาไม่ได้ แสดงได้แต่โลโก้อย่างเดียว)

2. วิทยุธุรกิจ (โฆษณาได้ แต่ต้องมีการประมูลคลื่นอย่างเดียว)

3. ชุมชน (พัฒนามาจากหอกระจายข่าวหมู่บ้าน มีชุมชนที่หลากหลาย เลยบัญญัติวิทยุชุมชนไว้ แยกกลุ่มตามชุมชน ท้องถิ่น อุตสาหกรรม ให้กองทุนสนับสนุนเงินให้วิทยุเลี้ยงตัวอยู่ได้เพื่อให้มีกำไร)

ปัญหาคือวิทยุชุมชนไม่เข้าตามนิยามนี้จึงไม่สามารถยื่นขอใบอนุญาตได้ เนื่องจากกฎหมายมีข้อจำกัด ไม่ให้อำนาจ ดังนั้นเราจะทำอย่างไรให้แก้ข้อจำกัดอย่างนั้น หลายแห่งเกิดปัญหาเยอะ อาทิ การสร้างความร่ำรวยให้กลุ่มคนบางกลุ่ม ปัญหาการเกิดขึ้นของเทคโนโลยี ผู้ประกอบการไม่มีจิตสำนึก การขยายสัญญาณบางครั้งขยายจนรบกวนเป็นคลื่นแทรก เป็นการรบกวนสิทธิ์ วิทยุชุมชน ทำให้เรารบกวนสิทธิ์คนอื่น วิทยุชุมชน จึงเกิดปัญหา ทำอย่างไรถ้าเราสั่งซื้อคลื่น ทำอย่างไรไม่ให้มีการกวน มีการบล็อกคลื่นสัญญาณ ทำอย่างไรให้ทุกคนอยู่ร่วมกันได้ทั้งภาคธุรกิจ และชุมชน สังคมสงบสุขได้เพราะพวกเราเอง เราต้องมีวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ การนำเสนอข่าวสารจำเป็นสำหรับชุมชนในกลุ่ม ขอให้ทุกคนละวางประโยชน์ส่วนตน ทำอย่างไรวิทยุชุมชนที่มีอยู่เข้าไปสู่ระบบกฎหมายได้อย่างถูกต้อง กฎหมายมีข้อเสนออย่างไรถึงไม่รบกวนสิทธิ์ผู้อื่นทั้งทรัพย์สินส่วนบุคคล และข่าวสารต่าง ๆ

โจทย์ของวันนี้ต้องมีหลายรูปแบบหลายความคิด ให้เป็นประโยชน์มากที่สุด

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

เส้นทางไปสู่เป้าหมายยังขรุขระอยู่ พัฒนาความรู้ของประชาชนเป็นสังคมที่น่าอยู่ มีความยั่งยืนเป็นเป้าหมายเพื่อระยะยาว

อาจารย์ทำนอง ดาศรี

1. ต้องการทราบสถานการณ์ความจริงปัจจุบัน

2. เรื่องเทคนิคปัจจุบันที่มีอยู่เป็นอย่างไร

3. ความต้องการภาคประชาชน ผู้ประกอบการ

4. การกำกับดูแล จากการไปสัมผัสที่เชียงใหม่  by Plus-HD-1.5" style="color: #0022cc; text-decoration: underline !important; background-color: transparent !important; border: none !important; display: inline !important; float: none !important; height: auto !important; margin: 0px !important; min-height: 0px !important; min-width: 0px !important; padding: 0px !important; vertical-align: baseline !important; width: auto !important;">พัทยา ได้กรอบกำกับ 3 เสาหลัก คือ

เสาที่ 1 กำกับดูแลโดยภาครัฐ กสทช.

อยากให้พูดเรื่องตัวบทกฎหมายที่มีอยู่ การบังคับใช้กับการพัฒนาในอนาคต อยากเพิ่มเติมตรงไหน

เสาที่ 2 อยากให้ตั้งสมาคมดูแลกันเอง มีการสร้างจรรยาบรรณ และให้คนอื่นทราบด้วย อาจดูแลด้วย

1. ตนเอง เขียนจรรยาบรรณ และคลื่นอื่นทราบหรือไม่

2. ขอความร่วมมือจาก กสทช.หรือไม่ อยากให้กฎหมายมีอะไรบ้าง

3. การกำกับดูแลโดยผู้ฟัง (Social Sanction) มีประชาชนร้องเรียนหรือไม่ อาจต้องมีการทำวิจัยในเรื่องนี้

คุณวรวุฒิ โตมอญ

กลุ่มคนที่มาที่นี่มาจากหลายบทบาทหน้าที่ อยากเชิญชวนให้คนลืมบทบาทหน้าที่ของตนเองลงก่อนในเบื้องต้น สิ่งที่อยากเห็นคือเห็นอะไรที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนและสังคม

กลุ่มแรก คือผู้ส่งสาร เอาสาระไปสู่ประชาชน

ขอให้ดูเรื่องสิทธิและหน้าที่ว่าขัดแย้งกันหรือไม่ สถานีวิทยุที่เป็นอยู่ในปัจจุบันได้คำนึงถึงสิทธิของคนอื่นหรือไม่

ในวงการวิทยุด้วยกัน ถ้าจะทำให้มีมาตรฐานเหมือนแพทย์สภา ควบคุมกันเอง หรือทนายความควบคุมกันเอง เห็นด้วยหรือไม่ และมีแนวคิดอย่างไร

คุณธนพภณ ปิ่นชัยโย ผู้อำนวยการวิทยุชุมชน How Radio จ.สระบุรี

งบประมาณสนับสนุนต่อเดือนที่จะให้น้อยไป และในความเป็นจริงไม่ได้ซึ่งถ้าได้ต้องใช้ความสามารถในการเขียนโครงการให้ดีและต้องทำตามนั้น ซึ่งบางครั้งเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก ถ้าจะให้ให้ไปเลยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ทั้งสิ้น และให้เขียนแค่รายงานส่ง

คุณอภิวิชญญ์ ทิพย์รัตน์ ผู้อำนวยการสถานี Zoom Radio 102.75 MHz

วิทยุชุมชน หรือวิทยุธุรกิจท้องถิ่น เกิดมาก่อน กสทช.หรือกทช. สมัยก่อนวิทยุชุมชนอยู่กันเองได้ ด้วยเสา 30 เมตร คลื่นส่ง 30 วัตต์ คนฟังก็ฟังอย่างมีความสุขและสามารถเข้าถึงประชาชนได้ 100 % ถ้าจะพึ่งวิทยุใหญ่ ๆ มีความเป็นไปได้ยากจึงต้องใช้ชุมชน

ปัญหาเกิดตั้งแต่เริ่มมี กทช. พยายามออกกฎระเบียบมากมาย ในส่วนผู้ประกอบการพยายามปรับให้สู่ระเบียบ แต่ ณ วันนั้น ถึงวันนี้ ยังไม่มีระเบียบที่เป็นรูปธรรม ต่อมามีกสทช. ก็ออกกฎระเบียบมากมาย ผู้ประกอบการชุมชนทำตามกำลังที่มีอยู่ไม่ทราบกฎหมาย กฎระเบียบ ต่อมาออกกฎหมาย พ.ร.บ. จัดสรรคลื่นความถี่วิทยุกระจายเสียง สังเกตได้เลยว่ากฎหมายเมืองไทยแค่ 15 นาทีผ่าน ไม่มองถึงว่าอดีตทำอย่างไรมา ไม่ได้ลงไปถึงหัวใจของระดับรากหญ้า กสทช. ตั้งกฎ ระเบียบ นั่งเทียนอย่างเดียว และจับเขาตลอดเวลา

ปัญหาคือ กสทช. ไม่ดูแลเลย วิทยุรากหญ้าให้ทำอะไรก็ทำ ปัจจุบันวิทยุธุรกิจเปิด 3,000 – 5,000 รายมีการเปิดแทรกกันก็เป็นปัญหา แต่ขอขอบคุณในส่วนวิทยุการบินที่ออกไปให้ความรู้ ตรวจคลื่น วิทยุท้องถิ่น

วิทยุชุมชน คือการสร้างความสามัคคี สร้างความอบอุ่นในชุมชน

วิทยุการเมืองยังไม่จับ มาเอาอะไรกับวิทยุเล็ก ๆ

อย่ามองที่ผู้ประกอบการเล็ก ๆ ให้มองที่ตัวเองก่อนว่า กสทช.ทำอย่างไร

การประสานงานกับองค์กรภาครัฐ ปี 2554 ไม่เห็นใครออกมาเลย มีเพียงวิทยุเล็ก ๆ ช่วยประสานกันทั้งหมด แล้ว กสทช. ก็ไปจับพวกเขา

วิทยุขนาดเล็ก รักที่จะสร้างสรรค์ สังคมให้ดีเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน แม้จะต้องหารายได้ สร้างสรรค์สังคมให้สวยงาม

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

อยากให้เน้นประโยชน์สูงสุด และมีคุณธรรม จริยธรรมกำกับ

คุณกิตติชัย ภูชนะ ประธานเครือข่ายระวังภัยทางสังคม จ.ชลบุรี

มี 70 สถานีรวมอยู่ในกลุ่ม ปัญหาทั้งหมด กสทช. มีส่วนในการทำให้ปัญหานี้เกิดขึ้น ที่ผ่านมาได้สัมผัสวิทยุชุมชน แต่ก่อนวิทยุชุมชนสร้างความรัก ความกลมเกลียวกันมาก เป็นการรวมกลุ่มในชุมชนออกคลื่น 300-400 วัตต์ ส่งได้ 50 กม. กล้าตั้งสถานี และมีบทบาทในการสร้างความสามัคคีในชุมชน ต่อมาวิทยุชุมชนเริ่มมีมากขึ้น จึงมีประกาศการจัดระเบียบจาก กสทช. บังคับให้คนที่ลงทะเบียนบังคับอยู่ที่ 500 วัตต์ แต่เจ้าของผลิตภัณฑ์ที่มีเงินมหาศาลตั้งใหม่ มี 3,000-10,000 วัตต์ กลายเป็นว่าคนที่อยู่ในร่องในรอยถูกบีบ

คนที่เข้าไปอยู่ในกรอบ 500 วัตต์ แต่เจอคน 3,000 วัตต์ แย่งโฆษณาไป ทำให้คนลงทะเบียนถูกต้องอยู่ไม่ได้

อย่าให้วิทยุชุมชนอดอยากปากแห้ง ถ้าทำมาหากินไม่ได้ ไม่สามารถเลี้ยงเครือข่ายได้ พอมีสิ่งที่ถูกต้องหรือไม่ยื่นเขามา เขาก็อาจจะรับสิ่งนั้น

คุณเบญจพร พงษ์ประดิษฐ์ ผู้จัดรายการวิทยุ F.M.98.00 MHz และผู้จัดรายการรู้รักแผ่นดิน

กสทช. มีเป้าหมายหลักเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวสยาม

แต่ที่สังคมวุ่นวายเพราะคำพูดของคน ประเด็นคือสิ่งที่ทำนั้นทำเป้าเพื่อชาติบ้านเมืองหรือไม่ วิทยุชุมชนควรจัดมาเพื่อประโยชน์แผ่นดิน ไม่ใช่เพื่อเงินในกระเป๋า

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

บทบาทของกสทช.ในอนาคต เรื่องกองทุนน่าจะเป็นงานวิจัยที่สำคัญ

ครูบาต้นน้ำ

นโยบายวิทยุชุมชน มหาบัว วิทยุชุมชนคือวิทยุตามเสียงเป็นเสียงตามสาย เพื่อประโยชน์ท้องถิ่น ที่ต้องอาศัยความร่วมมือกัน แต่ กสทช.มาให้เซ็นตามกฎหมาย ต้องเป็นพ.ร.บ. เสนอและประชุมหลัก มี สว.วิทยุชุมชนเข้ามาค้านกสทช.

ตัวแทนจากวิทยุ จ.นนทบุรี

การกระจายเสียงในชุมชนค่อนข้างมีความสุข ไม่ต้องมีโฆษณาก็อยู่ได้ แต่ที่สูงมากเพราะเป็นทุนนิยม

โครงการการกำกับดูแลวิทยุชุมชนจะทำอะไร ถึงไม่ใช่ปัญหา เราจะกำกับดูแลอย่างไรทั้งสาธารณะ ธุรกิจ ให้กติกาอยู่ในมาตรฐานเดียวกัน

เสายิ่งสูงเท่าไหร่ การก่อกวนยิ่งมาก

การให้บริการชุมชนเสมือนเป็นหอกระจายข่าววิทยุชุมชน จึงอยากให้มีการดูแลกันเอง ทำอย่างไรในการดูแลผู้ประกอบการวิทยุมี 3 ส่วนสำคัญ

ทางด้านเทคนิคจึงสำคัญที่สุด ฝากเรื่องเทคนิค การกระจาย 20 ตารางกม. น่าจะมีปัญหา ตราบใดที่ไม่มีคลื่นใกล้เคียงกันน่าจะไปได้ไกล

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

คลื่นดิจิตอลเรดิโออาจจะแพงหรือยุ่งยากมากกว่า เป็นเทคโนโลยีที่เสริมกันได้ เมื่อไรพร้อมก็จะวิ่งมาสู่ดิจิตอล

คุณภาพของคนมีคุณธรรมจริยธรรม จึงมีความจำเป็นที่ต้องมีหลักสูตรการพัฒนาคน

เริ่มจากพื้นฐานก่อน และกลับมาสู่ที่ภาคชนบท

งานของ กสทช.เรื่องทุนมนุษย์ ต้องให้เขามีความเข้าใจกัน สร้างคุณธรรม จริยธรรมในวงการวิทยุ

ต้องการให้สื่อปฏิรูปความคิด สร้างค่านิยม ถ้าวิทยุชุมชนทำดี กองทุนต้องให้เขา ถ้าทำไม่ดีต้อง Sanction กัน

กสทช. ต้องเป็นปฏิปักษ์ และวิ่งไปสู่เป้าหมายนั้น

ถ้าเราคิดถึงเป้าหมายส่วนรวม วิทยุจะเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคนที่ถูกที่สุด และสามารถแก้ปัญหาสังคมได้

หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ของเทศบาล

หอกระจายข่าวปีที่ 32 ร่วมกับวิทยุชุมชนครั้งแรก จะเห็นว่าวิทยุชุมชนไม่สามารถได้เงินจากองค์กรท้องถิ่นได้ เนื่องจากไม่มีกฎหมายที่สนับสนุนให้ท้องถิ่น การควบคุมดูแล มีเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ที่ช่วยดูแลวิทยุชุมชนได้ บอกแนวทางช่วยวิทยุชุมชนได้

แนวทางรวม ๆ ประชาสัมพันธ์โดยท้องถิ่น ทำงานด้านสื่ออยู่แล้ว

วิทยุที่แบ่งแยกและมีปัญหาเกิดขึ้น โดยปกติจะแข่งขันเรื่องความดัง และความไกล

วิทยุชุมชนที่เป็นสาธารณะ แต่โฆษณาไม่ได้ จะเอาเงินตรงไหนมา ที่แข่งกันเพราะอยากดัง และปากท้องไม่มี ต้องจ้างดีเจดัง ๆ มา

ถ้ามีกฎหมายหรือวิธีอะไร ให้ส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์รายงาน จะเกิดประโยชน์มากกว่าหาข้อสรุปแบบนี้

สถานีวิทยุกระจายเสียงกรุงเทพมหานคร

เสนอคุณธรรม จริยธรรมการบริการชุมชน และเป้าหมายเพื่อระบุชัดเจน จะเป็นเบ้าหลอมให้สังคมสู่เป้าหมายเดียวกัน เสนอการศึกษาหน้าที่พลเมืองที่ดี

หลักสูตรที่สำนักพิมพ์เสริมขึ้นมาทำให้เกิดผลดีและความแปลกแยกในสังคมเช่นเดียวกัน

วิทยุชุมชนบางคลื่นฟังไม่ได้ ไม่ว่าเป็นวิทยุชุมชนหรือก่อการ เราต้องมีการกีดกรอบและให้เคารพในกฎหมาย

คุณชาญยุทธ ศรีพรหม ผู้อำนวยการสถานีวิทยุชุมชนเขาเพิ่ม F.M. 92.00 MHzจ.นครนายก

ทุกคนมองที่ช่องว่างอยากได้ของตนเอง อยากให้มองว่าทำอย่างไรถึงร่วมกันได้ ต้องดูว่าระดับที่จะทำได้ขนาดไหน

กสทช.ให้มองว่าเสียงส่วนใหญ่อยู่ที่ระดับเท่าไหร่เป็นมาตรฐานกลาง เช่น 1,000 วัตต์ รับได้แต่ห้ามเกิน

อยากให้มีข้อมูลต่าง ๆ ถึงกันระหว่างผู้ประกอบการและกสทช.

อยากให้มองที่เป้าหมายแล้ววิทยุชุมชนเกิดได้แน่นอน เพิ่มหรือลบได้หรือไม่

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

วิทยุเป็นเครื่องมือที่ทันสมัยและทันเหตุการณ์ ถ้าให้วิทยุเกิดประโยชน์ ความรู้ รักชาติบ้านเมืองแทนที่จะขัดแย้งกัน

คิดถึงประเทศ คิดถึงส่วนรวมแล้วอยู่ได้ด้วย

บทบาทกสทช.ในอนาคตและเสริมจุดเดิมได้จะประสบความสำเร็จ

คุณสรวิชญ์ ไชยเลิศ เลขาธิการสมาคมวิทยุกระจายเสียง จ.สมุทรปราการ

มีการอบรมสัมมนาประกาศเจตนารมย์วิทยุกระจายเสียงและวิทยุบังคับ ทำเป็นรูปเล่ม ให้มีการรวมตัวและดูแลกันเป็นอย่างไร พบ 2 เรื่องที่เห็นเป็นปัญหา คือ

1. มาตรการของ กสทช.มีการกำหนดอยู่ที่ 500 วัตต์ไม่ควรเกิน แต่ปัจจุบันเกิน อยากให้ กสทช.มีการจำกัดอย่างชัดเจน มีการส่งคลื่น ระงับสัญญาณ ถอนสิทธิ์ แต่ กสทช. มีบุคลากรไม่เพียงพอที่จะไปตรวจจับ มาตรการการจับมือร่วมกัน องค์กรวิชาชีพความร่วมมือมีการรวมกลุ่มกันอย่างชัดเจน ส่งเสริมการอบรม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ส่งเสริมเสรีภาพสิทธิต่าง ๆ ปกป้องสิทธิทั้งผู้ฟังและชุมชน มีจริยธรรมที่ประสานกับกสทช.ได้ เราจะให้สถานีวิทยุมี สส.สังกัด ทุกคนปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่กำหนด

ถ้าไม่ปฏิบัติจะเป็นแกะดำ จะให้กสทช.ดำเนินการอย่างไร โดยที่แต่ละสมาคมจะเป็นหูเป็นตาและควบคุมกันเองด้วย

2. การสนับสนุนให้กับองค์กร วิทยุปัจจุบันจะสู้กับพวกทีวี ฟรีทีวีไม่ได้ เพราะได้ทั้งภาพและเสียง ถ้าจะมีกองทุนต่าง ๆ ช่วยสนับสนุนจะเป็นการดี เพราะหางบโฆษณาได้เยอะ ปัจจุบัน กสทช.บังคับให้เป็นนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด จะก่อให้เกิดต้นทุนในการปิดงบ ถ้าไม่มีการสนับสนุนจะไปหาโฆษณาที่เกินจริง ดังนั้น กสทช.ต้องมีตัวนี้สนับสนุนไม่งั้นอยู่ไม่ได้ไม่เช่นนั้น เขาจะไปหาเงินจากการเมือง และโฆษณาเกินจริง จึงอยากให้เน้นการควบคุมดูแลซึ่งกันและกันในเชิงสมาคมได้

เมื่อกสทช.ตั้งให้เป็นบริษัท เป็นไปไม่ได้ที่หารายได้ 100-1000 ล้าน ดังนั้นการสนับสนุนของกสทช.ต้องมากกว่าโทรทัศน์ ไม่เช่นนั้นจะเป็นการทำเงินเพื่ออยู่รอด

คุณพิชญ์ภูรี จันทรกมล

เห็นข้อแตกต่างของข้อเสนอกันอยู่

วิทยุกระจายเสียงเล็ก ยังมีความแตกต่างของข้อเสนอเช่น 500 วัตต์หรือบางครั้งเกินไป บางท่าน 300 วัตต์ บางครั้ง 1000 วัตต์ ไม่มีมาตรฐานแล้ว

เข้าใจว่าสิ่งที่ทำอยู่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน แต่ในอนาคตเป็นอย่างไร การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการรบกวนซึ่งกันและกัน จะแก้ปัญหาอย่างไรในเชิงเทคนิค กฎหมายและการกำกับดูแลต้องสร้างกระบวนการที่ยอมรับและเพื่อการพัฒนา เชื่อว่าไม่มีอะไร 100 % ที่สมบูรณ์แบบ อยากให้มองว่าอนาคตกฎหมายจะพัฒนาไปอย่างไร ชุมชนเป็นส่วนหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญ

ด้วยวิทยุกระจายเสียงบริการชุมชน โดยให้ประชาชนหรือชุมชนได้มีส่วนร่วม ประโยชน์การจัดตั้งทุกคนเข้าไปมีส่วนร่วมว่าต้องการอะไรในเรื่องนั้น ส่วนร่วมเป็นเสียงจากผู้ประกอบการ ถ้าหากนิยามชุมชนชัดเจน การมีส่วนร่วมน่าจะเบ็ดเสร็จได้ตรงนั้น และชุมชนจะไม่ใช้ 20 ตารางกิโลเมตรตลอดไป

คุณสกลชัย บุญสรรค์ รองประธานและสมาคมวิทยุและโทรทัศน์ จ.ชัยนาท

กสทช.กำหนดอยู่แล้วว่าชุมชนควรเป็นเท่าไหร่ ๆ กลายเป็นลูกครึ่งวิทยุชุมชน เพราะว่าแต่ก่อนทำเป็นธุรกิจ มีร้านก๋วยเตี๋ยว ลูกชิ้นมาโฆษณามากมาย ความเป็นชุมชนเยอะ แต่ปัจจุบันน้อยลงพอสมควร เนื่องจากความโลภของมนุษย์ ใช้จ่ายมากขึ้นความต้องการมากขึ้น ความเป็นวิทยุธุรกิจเข้ามา

ถ้าเป็นไปได้อยากให้ไปในระดับจังหวัด เช่น จ.ชัยนาทจะได้ครบทั้งคนฟัง จะดีมาก

ชมรมผู้ประกอบการวิทยุจังหวัดชัยนาท พอถึงจุดหนึ่งน่าจะเป็นสมาคมเพื่อรวมกลุ่มในจังหวัดกันเอง การดูแลกันเอง มีจรรยาบรรณ ระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูง ที่สร้างให้ตัวเองอยู่แล้ว

เสนอการรวมกลุ่มให้แต่ละจังหวัดให้ดูแลกันเอง ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี จากจังหวัด เป็นภาค แต่ละพื้นที่มีความเป็นอัตลักษณ์ของตนเองไม่เหมือนกัน รวมเป็นระดับภาค ระดับประเทศ โดยมี กสทช.เป็นแม่งาน

ปัญหาคือ เรื่องของรายได้ คนเป็นวิทยุธุรกิจโฆษณาได้ 75% วิทยุชุมชนห้ามโฆษณา ยกเว้นการโฆษณาเชิงสร้างสรรค์สามารถทำได้ การสนับสนุนไม่ค่อยได้ใช้มาก

ถ้าอยากจะช่วยด้วยความจริงใจให้บอกมาว่าจะทำอย่างไรกับเรา เพราะตอนนี้เป็นเสมือนสุญญากาศ สิ่งที่จะต้องพัฒนาค่อนข้างยากแต่ไม่ยากเกินกว่าคนจะทำได้

อาจารย์พรนภา แก้วลาย หัวหน้าสาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ ม.รังสิต

ทุกอย่างที่ต้องการบางครั้งเป็นเสมือนนามธรรม บางครั้งโดนกระแสสังคม ทำให้ลืมคุณธรรม จริยธรรมบ้าง แต่เป็นแง่ดีที่แสดงแง่คิดตรงนี้

กสทช. เขต 1 นนทบุรี

จะน้อมนำปัญหาต่าง ๆ ไปให้ผอ.ทราบ

ในเรื่องการตรวจสอบการใช้คลื่น การรบกวนคลื่นจะมีการเบาบางได้ ทั้งกำลังส่ง การแปลกปลอม

20 จังหวัด การรบกวนแต่ละจุดอาจไม่ทันการณ์

คุณสรวิชญ์ ไชยเลิศ เลขาธิการสมาคมวิทยุกระจายเสียง จ.สมุทรปราการ

ถ้าสถานีแต่ละที่ไม่ให้ความร่วมมือเราจะทำอย่างไร ให้กสทช.ดูแล บางสถานีเป็นแกะดำ ไม่ทำตาม ทำอย่างไรให้แจ้งละเมิด มีบทกำหนด รวมตัวแจ้งว่ามีอะไรเกิดขึ้น

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

ต่างประเทศคลื่นยังอยู่ที่ไปรษณีย์ กสทช. ดูแค่นโยบาย แต่ไทยรวบไว้หมดเลย

กสทช.เหมือนองค์กรที่มีอำนาจมาก กสทช.ต้องฟังเสียงจากรากหญ้าด้วย ต้องไม่ดาวกระจาย เลือกบางส่วนที่เป็นประโยชน์ต่อเรา ถ้าอยู่ไม่ได้ กสทช.ต้องช่วย หรือช่วยตัวเอง ไม่ใช่อยู่ไม่ได้ไปหานักการเมือง หรือโฆษณาเกินจริง นั่นแหละทำลายประเทศ

ในอนาคตประเทศไทยจะมีความสวยงามมากขึ้น

ครูบาต้นน้ำ

- จะจัดระเบียบในวิทยุชุมชน ถ้า กสทช.จะเป็นวิทยุที่เปลี่ยนระบบใหม่ ขอให้กสทช.เปิดกว้างสำหรับวิทยุชุมชนแล้วแบ่งแขนง เช่น ศึกษา ศาสนา แพทย์

- จุดที่วิทยุชุมชนไปชนกับวิทยุการบินมีอะไรที่ป้องกัน จะได้ไม่ต้องมานั่งแก้ หาข้อมูลที่มีทั้งข้อเสียและข้อดี

- เคยคุยกับที่ประชุมสงฆ์อยากให้ตรวจสอบว่าจุดไหนที่วิทยุชุมชนไปรบกวนให้ทำอะไรเป็นสเกลงาน

คุณธนพภณ ปิ่นชัยโย ผู้อำนวยการวิทยุชุมชน How Radio จ.สระบุรี

- ที่พูดมาทั้งหมดอยากให้สรุปให้ได้ใจความ อยากให้เขียนชัด ๆ ไม่ต้องตีความ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายให้ชัดเจน

- อยากให้กสทช.ถามวิทยุว่าต้องการอะไร ให้เขาได้ไหม ถ้าให้ก็ทำได้

คุณกิตติชัย ภูชนะ ประธานเครือข่ายระวังภัยทางสังคม จ.ชลบุรี

- เอากฎหมายเป็นตัวตั้ง เหมือน กสทช.มีกฎหมายเป็นตัวให้เราทำตาม จุดนี้คือจุดแก้ไข วิทยุชุมชนมีหลายประเภท บางประเภททำถูกต้อง บางประเภทก็น่าสงสารเช่น บางประเภทให้โฆษณาให้แค่ 6 นาที บางชุมชนได้จัดให้มีการรวมกลุ่มกันคิดต่าง ๆ นาๆ

ในอนาคตข้างหน้า วิทยุชุมชนโฆษณาไม่ได้ วิทยุธุรกิจต้องประมูล เหมือนการล็อกไม่ให้ไปไหน มีประโยชน์ได้หลายทาง เหมือนอย่างโอทอปหรือวิทยุชุมชน

- วิทยุชุมชนกับวิทยุธุรกิจเกือบจะเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน อยากนำเสนอว่าถ้าเป็นไปได้ว่าทุกสถานีอยู่ที่ 500 วัตต์ จะดังอยู่ที่อำเภอนั้น แต่ถ้ารายใหญ่อยากประมูลก็ให้ประมูลกันไป

สินค้าที่โฆษณาในอำเภอ น่าจะอนุรักษ์วิทยุชุมชน วิทยุธุรกิจชุมชนเอาไว้

คุณสรวิชญ์ ไชยเลิศ เลขาธิการสมาคมวิทยุกระจายเสียง จ.สมุทรปราการ

บางสถานีเป็นวิทยุชุมชน บางสถานีเป็นธุรกิจ สถานีที่จดเป็นวิทยุชุมชนบางรายมีการหลบเลี่ยงหารายได้ธุรกิจ ถ้าจับได้จะมีการปรับหรือไม่ กสทช. บังคับให้สถานีเป็นนิติบุคคล ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำ อย่างไรก็ตามต้องรวมกลุ่มกันให้วิทยุเผยแพร่คุณธรรม จริยธรรมให้อยู่ได้ ถ้าไม่เกิดการควบคุมกันได้ กสทช.จะทำอย่างไรให้ร่วมมือกันได้

คุณสรยุทธ์ ไพโรจน์ อ.หนองแค จ.สระบุรี

เป็นส่วนหนึ่งอยู่ตรงกลาง ฟังมานานแล้วยังไม่เห็นตัวบทกฎหมายของกสทช.ที่ออกมาว่ามาตรา 1, 2, 3,……เป็นอย่างไร อยากให้กสทช.ออกกฎหมายมาเผยแพร่ได้หรือไม่จะได้มาคุยกันหาแนวทางปฏิบัติกัน จะได้เดินทางได้ถูกทาง

กฎหมายอยู่ตรงไหน ในส่วนความเหลื่อมล้ำ วิทยุไม่มีความเหลื่อมล้ำกัน มีการแอบแฝงเป็นเรื่องปากท้อง และครอบครัวนิด ๆ

คุณกิตติชัย ภูชนะ ประธานเครือข่ายระวังภัยทางสังคม จ.ชลบุรี

วิทยุชุมชนจริง ๆ ก็อยากเป็นวิทยุชุมชน แต่ที่น่าเสียดายวิทยุธุรกิจจ่าย หมื่นเจ็ดร้อยบาท (รวมภาษี) ปีนี้ก็จ่ายหนึ่งหมื่นเจ็ดร้อยบาท แต่ยังมีวิทยุเถื่อนที่ทำมาแล้วกี่ปีก็ไม่มีการจ่ายเงิน ก็ให้เกิดความน้อยใจจากผู้ที่ทำถูกกฎหมาย

ฉลวย แจ้มสุนทร ผู้อำนวยการสถานีวิทยุบ้านนา จ.นครนายก

วิทยุธุรกิจ วิทยุสาธารณะ วิทยุชุมชน อยากให้มีคำจำกัดความ กฎหมายมีหรือไม่ การควบคุมเป็นอย่างไร อยากรู้ข้อมูลธุรกิจว่าต้องทำขนาดไหน กฎหมายบอกมาหรือไม่

ธุรกิจ สาธารณ ชุมชน มีกฎหมายควบคุมหรือไม่เป็นอย่างไร

คุณสาธิต อนันตสมบูรณ์

กฎหมายกำกับวิทยุ กับการจัดสรรคลื่นความถี่ รัฐทำ กสทช.ได้รับมอบหมายมา

สถานีวิทยุคนออกใบอนุญาตได้คือกรมไปรษณีย์โทรเลข ออกได้เฉพาะรัฐเท่านั้น

รัฐธรรมนูญ 40 ออกไว้ อยู่ระหว่างร่างกฎหมาย มีหอกระจายข่าว ให้ชุมชนดูแลตนเอง ควบคุมกันเอง มีนโยบายให้กรมประชาสัมพันธ์ ไม่รบกวนกัน มีหลักเกณฑ์ว่าคลื่นกำลังส่งเท่าไหร่ มีกลุ่มวิ่งเข้าหารัฐบาล

ปี 2550 มีร่างรัฐธรรมนูญใหม่ มีกทช. และกสทช.ดูแล จนปี 2550 มีการปฏิวัติ ปี 2551 มีการออกกฎหมายที่คุมโดยเฉพาะระบุสถานีวิทยุ 3 ประเภท มีสาธารณะ ธุรกิจ ประกอบกิจการแสวงหากำไร

วิทยุชุมชน คือการรวมกลุ่มกันของชุมชนเพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ชุมชน ห้ามมีโฆษณา

วิทยุธุรกิจต้องมีการเปิดประมูล โดยมีการจัดสรรเท่านั้น วิทยุใดอยู่โดยชอบด้วยกฎหมายให้อยู่โดยชอบต่อไป ยังไม่มีการประกาศคืนคลื่น สถานีที่จะเกิดขึ้นใหม่จึงยังทำไม่ได้

วิทยุชุมชนเข้านิยามของกฎหมายด้วย

พ.ร.บ. ปี 2543 ให้ชั่วคราว ปี 2553 ไม่ได้กำหนดใบชั่วคราว ต้องรีบจัดการให้เสร็จให้เข้ากรอบกฎหมาย ถ้าเห็นว่ากฎหมายไม่ดี เป็นปัญหาก็ให้ความเห็นไป ก็ต้องมีมาตรฐานมีกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ผู้ร่างต้องให้ประชาชนมีบทบาทเพื่อเสริมสร้างท้องถิ่น สร้างตนเอง สื่อสำคัญ ผู้เขียนพยายามเขียนตีกรอบ ให้อ่านพ.ร.บ.ปี 2541 จะเข้าใจนิยามและความหมายดี

วิทยุชุมชน เขียนกฎหมายให้กองทุนวิจัยและพัฒนาเพื่อให้อยู่ได้ ให้ชุมชนเผยแพร่ข่าวสารให้

เนื้อหาสาระวิทยุที่จะออกเป็นอย่างไร มีขั้นตอนการกำกับดูแลทั้งหมดในตัวบทกฎหมาย บางทีอาจมองปัญหาของเรา ว่าเราอยู่ในกฎหมายหรือนอกกฎหมาย เรามีคุณธรรม จริยธรรมหรือยัง เคยคิดถึงลูกหลานหรือไม่

ถ้าไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย บ้านเมืองไม่สงบสุข ทุกคนยืนอยู่ไม่ได้ ถ้าทุกคนพยายามออกนอกระบบ ทำไมไม่คิดว่าเราต้องยืนได้ด้วยตนเอง ถ้าจิตไม่พัฒนาไป บ้านเมืองลำบาก ถ้าคิดว่าเราอยากสบายกว่าคนอื่น แล้วคลื่นรบกวนคนอื่น กรอบของกฎหมายคือไม่ให้รบกวนกัน ให้ทุกคนเคารพสิทธิ์ การแผ่สัญญาณกระจายคลื่นเท่าไหร่

1. ขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม

2. คิดถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นคนอื่น

คุณจิรสุข ชินะโชติ

ที่พาดพิงว่าสื่อของรัฐโดนครอบงำ ไม่ได้เป็นเฉพาะช่องนี้ แต่เป็นมานานแล้ว เพราะผู้ใหญ่เป็นสื่อของรัฐบาล ใครเป็นรัฐบาลต้องทำตาม ไม่อย่างงั้นจะโดนย้าย

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

รัฐครอบงำได้คือประเทศด้อยพัฒนา สิ่งสำคัญคือการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

คุณจิรสุข ชินะโชติ นักสื่อสารมวลชนชำนาญการ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย

การพัฒนาคน ปัจจุบันสื่อก้าวไกลคนสามารถเห็นคนจัดได้

อยากเน้นเรื่องคุณธรรม จริยธรรม

ผู้บริหารที่อยู่ข้างบนต้องเข้าใจการประกอบการของภาคสนามด้วย

ต้องบริหารจัดการสมัยใหม่ อยากให้ดูตัวอย่างที่สวีเดน นอร์เวย์ น่าจะเป็นตัวอย่างที่ดี

เทคนิคสำคัญมาก ไม่ใช่เฉพาะการพัฒนาเทคนิคที่อยู่ในประเทศ

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

8K’s ตัวที่ทำให้เป็นคนเก่งคือปัญญา และจริยธรรม คิดเป็น วิเคราะห์เป็น มีกรอบพัฒนาจริยธรรมไว้ และให้เรียนรู้เรื่องการเงินด้วย

ในอนาคตข้างหน้าอยากให้มีโอกาสรับใช้ กสทช.

คุณธนพภณ ปิ่นไชโย ผู้อำนวยการวิทยุชุมชน How Radio จ.สระบุรี

- กสทช.มีตัวตรวจจับคลื่นที่คลื่นไหนพูดลามก สามารถตรวจจับและพัฒนาได้

- คนที่ขัดและพูดไม่ถูกต้องต้องเบรก การจัดคนมาตีกันไม่ใช่หน้าที่ของสื่อที่ถูกต้อง

- คนเราอยากจะโตได้ ไม่ได้โตมาจากตัวเรา โตได้จากพ่อแม่ ทำอะไรนึกถึงพ่อแม่

- ทุกวันนี้ คนไม่เคยคิดถึงห่วงเราอยู่ข้างหลัง นี่คือคติสอนใจเราได้

คุณสรวิชญ์ ไชยเลิศ เลขาธิการสมาคมวิทยุกระจายเสียง จ.สมุทรปราการ

- ควรเน้นเรื่องการรู้จักผิดชอบชั่วดี

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

- อยากให้เชื่อมไปในอาเซียนด้วย

- ประเทศไทยต้องอยู่ได้ด้วยระยะยาว ไม่ใช่ระยะสั้น ถ้ามีโอกาสทำงานร่วมกันอีกครั้งหนึ่ง เป้าหมายงานวิจัยสู่การพัฒนาคน

- ถ้าเป็นความต้องการของผู้ฟังในวันนี้ หลายคนพอใจมากสำหรับการพัฒนาวิทยุอย่างแท้จริง

คุณสกลชัย บุญสรรค์ รองประธานและสมาคมวิทยุและโทรทัศน์ จ.ชัยนาท

เรื่องเนื้อหาการผลิต การพัฒนามนุษย์มีหลายด้าน อยากให้มี Center ของข้อมูลจริง ๆ การพัฒนาเนื้อหาน่าจะทำให้เป็นแบบเดียวกันทั่วประเทศจะได้กลายเป็น Center เดียวกัน และพบว่ายังไม่มีที่ไหนทำ ปัจจุบันไม่มีการดึงข้อมูลเป็นส่วนกลาง ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีมาก

กสทช.คิดจะทำอย่างไรกับวิทยุอย่างพวกเราบ้านในอนาคต และปัจจุบันวิทยุชุมชนยังเกิดขึ้นได้หรือไม่

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

เป็นเรื่องที่น่าทำมากในการเป็น Center ของข้อมูล

คุณสาธิต อนันตสมบูรณ์

การเปิดวิทยุชุมชนเพิ่มเติม ผิดกฎหมาย ผิดตั้งแต่เสาที่ไม่ได้รับรองโดย กสทช
เป็นธุรกิจแอบแฝง ผิดกฎหมาย เป็นความโลภของมนุษย์

วิทยุชุมชนต้องเป็นชุมชน

กสทช.ไม่อาจละเลยกฎหมายได้ มีความผิดที่ไม่ทำ

ในระหว่างที่มีกฎหมายและยังไม่เข้าระบบ ก็ต้องช่วยกันอย่าทำให้เกินกรอบ ผิดกฎหมายอาญา และทุกอย่าง

คุณจิรสุข ชินะโชติ นักสื่อสารมวลชนชำนาญการ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย

ปัญหาของวิทยุกระจายเสียง

วิทยุชุมชนเล็ก ๆ ฝนตกฟ้าร้องก็ต้องปิด เนื่องจากรบกวนเช่นกัน

คุณกิตติชัย ภูชนะ ประธานเครือข่ายระวังภัยทางสังคม จ.ชลบุรี

เสนอให้ฐานข้อมูลสามารถใส่ที่ Thailandradio.net สามารถใส่ข้อมูลเป็นศูนย์กลางได้ ให้ดาวน์โหลด ได้

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

ตัวอย่างรายการสถานีเชียงใหม่สามารถไขว้รายการเพื่อให้เกิดความหลากหลายและมีข้อมูลมากขึ้น

ความคิดเห็น

1. ฝากมูลนิธิในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ดำเนินกิจการกระจายเสียง เช่นจรรยาบรรณวิชาชีพ

2. ผังรายการ มีการบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลาย สื่อเป็นส่วนกลางสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้และบูรณาการ สามารถทำชุมชนต้นแบบ ไม่ว่าจะเป็นศิลปวัฒนธรรม วิชาชีพ

3. ตัวบทกฎหมายต้องตีความ ดำเนินการที่กสทช.ทั้งหมด

คุณธนพภณ ปิ่นไชโย ผู้อำนวยการวิทยุชุมชน How Radio จ.สระบุรี

อยากให้มีการจัดในพื้นที่ แลกเปลี่ยนข่าวสารร่วมกัน

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

ถ้าสื่อมีจริยธรรม จะทำให้มี Content เพื่อช่วยให้สังคมดีขึ้น

คุณพิชญ์ภูรี จันทรกมล

สิ่งที่แต่ละท่านนำเสนอจะนำเสนอว่ามีข้อมลผู้ประกอบการอย่างไร

- งานวิจัยที่อาจารย์จีระ ทำหมดเลย ในฐานะกรรมการอยากขอบคุณทุกท่าน สิ่งใดเสนอมาส่งกลับอยู่แล้ว

- ฝากให้อ่านเล่มที่ กสทช. แจกจะเป็นประโยชน์มาก

อาจารย์พรนภา แก้วลาย หัวหน้าสาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ ม.รังสิต

- การพัฒนาบุตรหลาน อบรมให้รู้ลักษณะงาน การอยู่ร่วมกัน การทำงานโดยต่อไป

จะอยู่อย่างไรที่ Win Win และอยู่ร่วมกันได้ เน้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

- การทำต่อเนื่องต้องค่อย ๆ ทำ อาจเริ่มจากชุมชนแต่ละที่ แต่ละแห่ง แต่ละภาค อยากให้ทุกท่านแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน แก้ปัญหา พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

อาจารย์ทำนอง ดาศรี

- ตัวละครคือผู้ฟัง จะสร้างผู้ฟังอย่างไรให้สามารถวิเคราะห์ ตัดสินใจในสิ่งถูกต้องได้ด้วย

คุณวรวุฒิ โตมอญ

- เรื่องคน เรื่องทุนมนุษย์ คนใช้วัสดุอุปกรณ์คือพวกเรา การควบคุมตรวจสอบกันเอง ท้องถิ่นมีส่วนร่วมด้วยหรือไม่ คนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการกำหนดกติกา

- ในอนาคตควรมีการกำหนดโซนนิ่งนอกเหนือจากตัวคลื่นแล้ว คนที่รับประโยชน์ ได้ประโยชน์ในชุมชนควรมีส่วนร่วมในการตอบและให้ความรู้ในการใช้เวลาถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารเท่าไหร่ ควรมีความรู้กี่เปอร์เซ็นต์

ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

ในอนาคตถ้าการพัฒนาผู้ประกอบการวิทยุ ผู้ฟังและท้องถิ่นไปได้ดี จะดีมาก

ในอนาคตข้างหน้า การรู้จักกันก็แบ่งปันกัน

จะไปทำ Focus group เล็ก ๆ ที่ชัยนาท

เราน่าเป็นตัวอย่างที่ดีของวิทยุชุมชนของอาเซียน

 

แก้ไขล่าสุด ใน วันพุธที่ 19 กุมภาพันธ์ 2014 เวลา 18:05 น.